1.กำหนดหัวข้อปัญหา
โดยพิจารณาจาก ความรุนแรง ความถี่ โอกาสเกิด
โดยลักษณะหัวข้อคือ How what Whare เช่น ลดของเสียในสินค้าA เป็นต้น
2.สำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย
โดยพิจารณาว่าปัญหานี้ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมากอย่างมีนัยสำคัญจริงๆ (โดยพิจารณาจาก ผังพาเรโต)
ลักษณะของการตั้งเป้าหมาย ประกอบด้วยbaseline target when เช่น ลดของเสียจากสินค้า A จาก 10%เป็น 5%ภายใน 1 เดือน เป็นต้น
3.วางแผนดำเนินการ
ให้ครอบคลุม PDCA
4.วิเคราะห์หาสาเหตุและกำหนดมาตรการแก้ไข
อาจเริ่มต้นจาก การระดมสมอง แล้วพัฒนาเป็นผังก้างปลา หรืออาจพัฒนาสู่ Why Why analysis
ทำการพิสูจน์ความสัมพันธ์ของสาเหตุและผลลัพธ์ด้วยผังความสัมพันธ์
กำหนดเป็นตารางแผนปฏิบัติ
5.การนำมาตรการแก้ไขไปปฏิบัติ
6.การติดตามผล
7.การทำเป็นมาตรฐาน
เมื่อพิสูจน์ได้ว่าแนวทางแก้ไขปัญหาสามารถแก้ปัญหาได้จริง
วันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
12 ขั้นตอนในการปรับปรุงกระบวนการ
1.เลือกกระบวนการที่จะปรับปรุง
2.แต่งตั้งทีมงาน
3.ศึกษาสถานะปัจจุบัน
4.ปรับปรุงเบื้องต้น
5.เก็บข้อมูลพื้นฐาน
6.วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้
7.หาสาเหตุของปัญหา
8.ทำแผนการแก้ปัญหา
9.ปฏิบัติตามแผน
10.เก็บข้อมูลหลังการปรับปรุง
11.ตรวจสอบผลกระทบ
12.จัดทำเป็นมาตรฐาน
2.แต่งตั้งทีมงาน
3.ศึกษาสถานะปัจจุบัน
4.ปรับปรุงเบื้องต้น
5.เก็บข้อมูลพื้นฐาน
6.วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้
7.หาสาเหตุของปัญหา
8.ทำแผนการแก้ปัญหา
9.ปฏิบัติตามแผน
10.เก็บข้อมูลหลังการปรับปรุง
11.ตรวจสอบผลกระทบ
12.จัดทำเป็นมาตรฐาน
9 ขั้นตอนในการแก้ไขสิ่งบกพร่องในกระบวนการ
1.แก้ปัญหาเฉพาะหน้า
2.แจ้งผู้รับผิดชอบหลัก
3.บันทึกเป็นเอกสาร
4.ลงทะเบียนควบคุม
5.วิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางแก้ไข
6.ดำเนินการตามที่กำหนด
7.ติดตามผลการแก้ไข
8.ขยายผลการแก้ไข
9.เก็บรวบรวมเป็นองค์ความรู้
2.แจ้งผู้รับผิดชอบหลัก
3.บันทึกเป็นเอกสาร
4.ลงทะเบียนควบคุม
5.วิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางแก้ไข
6.ดำเนินการตามที่กำหนด
7.ติดตามผลการแก้ไข
8.ขยายผลการแก้ไข
9.เก็บรวบรวมเป็นองค์ความรู้
SWOT analysis
SWOT analysis คือเครื่องมือในการวิเคราะห์เพื่อจัดทำกลยุทธ์ขององค์กร
โดยมี Model หลักคือ
1.วิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสถานการณ์ภายใน(จุดอ่อน จุดแข็ง)
โดยมีปัจจัยนำเข้า ได้แก่
ความสามารถหลัก(Core Competency) คือความสามารถพิเศษที่องค์กรมีอยู่และนำมาใช้ เพื่อประโยชน์ในการแข่งขันหรือสร้างความได้เปรียบในการดำเนิธุรกิจ
ห่วงโซ่แห่งคุณค่า(Value Chain) คือกระบวนการทำงานที่ส่งมอบคุณค่าของผลิตภัณฑ์หรือบริการให้ลูกค้า
ปัจจัยความสำเร็จ(Key Success Factor)
7'S Mckinsey Model ได้แก่ Structure System Style Staff Skills Strategy Shared Values
2.วิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสถานการณ์ภายนอก(โอกาสและอุปสรรค)
โดยมีปัจจัยนำเข้า ได้แก่
PEST analysis (ปัจจัยด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง)
Five Forces Model(แรงกดดันทั้ง 5 ได้แก่ ลูกค้า ซัพพลายเออร์ ผู้ประกอบการรายใหม่ สินค้าทดแทน คู่แข่ง)
โดยมี Model หลักคือ
1.วิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสถานการณ์ภายใน(จุดอ่อน จุดแข็ง)
โดยมีปัจจัยนำเข้า ได้แก่
ความสามารถหลัก(Core Competency) คือความสามารถพิเศษที่องค์กรมีอยู่และนำมาใช้ เพื่อประโยชน์ในการแข่งขันหรือสร้างความได้เปรียบในการดำเนิธุรกิจ
ห่วงโซ่แห่งคุณค่า(Value Chain) คือกระบวนการทำงานที่ส่งมอบคุณค่าของผลิตภัณฑ์หรือบริการให้ลูกค้า
ปัจจัยความสำเร็จ(Key Success Factor)
7'S Mckinsey Model ได้แก่ Structure System Style Staff Skills Strategy Shared Values
2.วิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสถานการณ์ภายนอก(โอกาสและอุปสรรค)
โดยมีปัจจัยนำเข้า ได้แก่
PEST analysis (ปัจจัยด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง)
Five Forces Model(แรงกดดันทั้ง 5 ได้แก่ ลูกค้า ซัพพลายเออร์ ผู้ประกอบการรายใหม่ สินค้าทดแทน คู่แข่ง)
การจัดการความรู้ในองค์กร
ขั้นตอนการจัดการความรู้ในองค์กร(Knowledge Management)
1.อบรมให้พนักงานมีความรู้และทัศนคติที่ดีต่อการจัดการความรู้ในองค์กร
2.Audit เพื่อพิจารณาและจัดหมวดหมู่องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อองค์กร
3.Capture รวบรวมองค์ความรู้ที่มีจากทุกๆแหล่ง เช่น เอกสาร คู่มือ ความรู้ที่อยู่ในตัวพนักงาน ผู้เชี่ยวชาญ
4.จัดทำ Knowledge Map เพื่อให้เห็นภาพรวมขององค์ความรู้ที่มี และมั่นใจว่าความรู้ถูกทิศทาง
5.Deploy สร้างความมีส่วนร่วม จากการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น KM day ,KM Sharing ,KM award ,KM web,KM manual เป็นต้น
6.Evaluate เช่น จำนวนองค์ความรู้ที่ Capture ได้ จำนวนคนที่เข้าร่วมการ Sharing จำนวนคนเข้า web จำนวนความรู้ที่นำไปต่อยอด เป็นต้น
7.Improvement พัฒนาเพื่อปรับปรุงสิ่งที่ยังทำได้ไม่ดีจากการ Evaluate
8.สร้าง Innovation สร้างแนวทางใหม่ๆแห่งการเรียนรู้
1.อบรมให้พนักงานมีความรู้และทัศนคติที่ดีต่อการจัดการความรู้ในองค์กร
2.Audit เพื่อพิจารณาและจัดหมวดหมู่องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อองค์กร
3.Capture รวบรวมองค์ความรู้ที่มีจากทุกๆแหล่ง เช่น เอกสาร คู่มือ ความรู้ที่อยู่ในตัวพนักงาน ผู้เชี่ยวชาญ
4.จัดทำ Knowledge Map เพื่อให้เห็นภาพรวมขององค์ความรู้ที่มี และมั่นใจว่าความรู้ถูกทิศทาง
5.Deploy สร้างความมีส่วนร่วม จากการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น KM day ,KM Sharing ,KM award ,KM web,KM manual เป็นต้น
6.Evaluate เช่น จำนวนองค์ความรู้ที่ Capture ได้ จำนวนคนที่เข้าร่วมการ Sharing จำนวนคนเข้า web จำนวนความรู้ที่นำไปต่อยอด เป็นต้น
7.Improvement พัฒนาเพื่อปรับปรุงสิ่งที่ยังทำได้ไม่ดีจากการ Evaluate
8.สร้าง Innovation สร้างแนวทางใหม่ๆแห่งการเรียนรู้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)